Archive for Melioidosis

การตรวจวินิจฉัยโรคเมลิออยโดสิสทางห้องปฏิบัติการ : วรรณพร วุฒิเอกอนันต์ และ สุรศักดิ วงศ์รัตนชีวิน : ย่อความ

แบคทีเรียวิทยา

  1. Burkholderia pseudomallei เป็นเชือแบคทีเรียซึงพบได้ในดินและนํ้าเกื อบทัวทุกภาคของประเทศไทย พบมาก ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  2. มีความทนทานสามารถอยู่ได้ในน้ำกลันนานหลายปี
  3. เมือย้อมสีแกรมติดสีแกรมลบ ขนาดเล็กประมาณ 0.5-1ยาว 2-4 ไมครอน ลักษณะเป็ นท่อนเรียวบาง (bacilli) ติดสี ชัดที ปลายทั้งสองด้าน (bipolar staining) มีเอนซัยม์ oxidase
  4. มีแฟลกเจลลา(flagella) หลายเส้นทีปลายสองด้านสําหรั บเคลือนที
  5. เจริญเติบโตได้ในที ๆมีออกซิเจนน้อย ไม่สร้างสปอร์(spore) แต่สามารถสร้าง hydrated glycocalyx polysaccharide capsule หากถูกทําลายจะทําให้เชือลดความรุ นแรง (virulence)
  6. เชื้อทีขนาดโคโลนีเล็กลง (microcolony) จะมีความทนทานต่อยาต้านจุลชีพมากขึ น ในร่ างกายมนุษย์ เชื้ อ B. pseudomallei สามารถเจริญเติบโตเพิมจํานวนอยู่ใน phagocytic cells และeukaryotic cell lines ได้หลายชนิ ด ซึ่งส่งผลให้เชือสามารถแอบแฝงอยู่ในร่ างกาย โดยกลไกของร่างกายไม่ต่อต้านเชือ จึงไม่ถูกทําลายและไม่แสดงอาการของโรค รอจนกว่าร่างกายจะอ่อนแอจึงจะสําแดงอาการ ซึ งมักจะรุ นแรงและยากในการรักษา
  7. ได้มีการถอดรหัสพันธุกรรมโดย Wellcome Trust Sanger Centre พบว่ามี โครโมโซม 2 ตัว และมียีนขนาดใหญ่ทั  งหมด 7.24 ล้านเบสประกอบด้วย G+C 68% 7

การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
ผู้ป่ วยเมลิออยโดสิ สมีอาการและอาการแสดงแตกต่างกันตั  งแต่ไม่รุนแรงจนถึงเสียชีวิตซึงมีอัตราตายสูงกว่า 50%
อาการของโรคคล้ายคลึงกับโรคอืนๆอีกหลายชนิด จึงเป็นการยากทีจะวินิจฉัยโรคนี โดยอาศัยอาการทางคลินิก
จําเป็นต้องอาศัยการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการในการวินิจฉัยโรคเสมอ วิธี มาตรฐานในการวินิจฉัยผู้ป่ วยเมลิ
ออยโดสิสทางห้องปฎิบัติการ(gold standard) คือการเพาะเชื อ B. pseudomallei จากสิงส่ งตรวจ ซึ งต้องใช้เวลา
อย่างน้อย 2-3 วันเนืองจากเชือนี้เติบโตช้า โดยเฉพาะการเพาะเชือจากสิงส่งตรวจทีมีเชืออืนปนเปือนเช่น เสมหะ
และปัสสาวะเป็ นต้น จําเป็ นต้องใช้อาหารเลียงเชื้อทีมีความจําเพาะ (selective media) เพือช่วยแยกเชือ B.
pseudomallei ออกจากเชืออืนและไม่ถูกเชือชนิดอืนซึ งเติบโตได้เร็วกว่าขึนกลบ ด้วยเหตุนีจึ งมีการพัฒนาเพือหา
วิธีการตรวจวินิจฉัยทีทําได้ง่าย รวดเร็ว มีความไวและความจําเพาะสูง โดยอาศัยเทคนิคทางวิทยาภูมิคุ ้มกัน
(immunology) ซึ  งเป็ นการตรวจหาแอนติบอดีต่อตัวเชื้อหรือส่วนหนึ งส่วนใดของเชือหรือการตรวจหาแอนติเจน
ของเชื อ และการวินิจฉัยโดยอาศัยเทคนิค ทางอณูชีววิทยา(molecular biology) ซึ งเป็นการตรวจหา genetic
material ของเชือ

การเก็บสิงส่ งตรวจเพือเพาะเชือ
ผู้ป่วยทีมีอาการและอาการแสดงทีสงสัยว่าจะเป็นโรคเมลิ ออยโดสิ ส มักมีการติดเชือใน เลือด ปอด ทางเดิน
ปัสสาวะและมักมีการอักเสบของแผลหรือฝี จึงควรทําการเพาะเชือจาก เลือด เสมหะ tracheal aspirate, throat
swab ปั สสาวะ ตลอดจนหนองจากฝี หรื อแผล เพือตรวจหาเชือ B. pseudomallei เมือเพาะเชือได้ จากสิงส่งตรวจ
ใดก็ควรเพาะซําทุกอาทิตย์เพือดูประสิทธิภาพของยาเพราะการดื  อยาอาจเกิดขึนได้

ให้ความเห็น